Web เชื่อมโยงกลุ่มสาระวิชา
หน่วย : BEN 10
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 Quarter 4
ปีการศึกษา 2559
Mind Mapping (เนื้อหาครู)
คำถามหลัก(Big Question) : วิทยาศาสตร์มีผลต่อชีวิตเราอย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา
: เด็กส่วนใหญ่คิดว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องยาก เป็นเรื่องไกลตัวและไม่เห็นความสำคัญในการเรียนรู้ แต่ในปัจจุบันเด็กจำเป็นต้องใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์
ในการคิดวิเคราะห์ในขั้นตอนต่างๆ ในการจำแนก การแยกแยะองค์ประกอบของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
หรือเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งนั้นประกอบขึ้นมาจากอะไร ประกอบได้อย่างไร
มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไร หรือหาสาเหตุของสิ่งที่เกิดขึ้น ซึ่งการคิดวิเคราะห์จะต้องใช้ความเป็นเหตุเป็นผลเป็นพื้นฐานในการเข้าใจความเป็นมาเป็นไปของเหตุการณ์ต่างๆ
ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจแก้ปัญหาต่อไปได้ ดังนั้นพี่ป.1 ควรได้รับการส่งเสริมและปูพื้นฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และฝึกฝนการจัดโครงสร้างความคิดอย่างเป็นระบบ
อีกทั้งตระหนักรู้และเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในโลกรอบตัว ในการนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ปฏิทินการจัดการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based
Learning)
หน่วย : BEN 10 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่
1 ภาคเรียนที่ 2 (Quarter
4) ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์ :
สร้างฉันทะ /สร้างแรงบันดาลใจ
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
คำถาม
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้
?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Card and Chart
-
Blackboard Share
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอการ์ตูน BEN 10 ตอนแรก
- ชุดอุปกรณ์การทดลองของนักเรียน
|
- นักเรียนแต่ละคนเล่าถึงสิ่งที่ตนเองได้ทำกิจกรรมการทดลอง (Home
School day ) คนละ 2 กิจกรรม
- นักเรียนอาสานำเสนอกิจกรรมการทดลองของตนเอง ประมาณ 5
คน
- นักเรียนได้ฝึกการสังเกตและตั้งคำถามสิ่งที่อยากรู้จากสิ่งที่เพื่อนทำ
คนละ 5 คำถาม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น ทำไมถึงเปลี่ยนไป ส่งผลอย่างไร แล้วเกี่ยวข้องกับเราอย่างไร ?”
- นักเรียนแต่ละคนบันทึกการทดลองลงในสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอการ์ตูน BEN 10 ตอนแรก
- นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้?"
- นักเรียนวาดภาพหรือเขียนสิ่งที่อยากเรียนรู้
พร้อมบอกเหตุผลที่อยากเรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่อยากเรียนรู้
- นำเสนอเรื่องที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยให้น่า สนใจ และอยากเรียนรู้อย่างไร?
- นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ |
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมทดลองวิทยาศาสตร์(Home School day )
- พูดคุย ถามตอบเกี่ยวกับการตั้งคำถามจากการทดลองของเพื่อน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้และชื่อหน่วย
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นสิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้
- เขียนและวาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจ และสามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสมเหตุสมผล ทักษะ : - ทักษะชีวิต
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
- ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
- ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล)
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
2
|
โจทย์ :
ออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้
คำถาม
นักเรียนจะออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter
4/59 นี้อย่างไร ?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Think Pair Share
- Mind Mapping
- Card and Chart
- Wall Thinking
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ชุดอุปกรณ์การทดลองของนักเรียน
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนอาสานำเสนอกิจกรรมการทดลองวิยาศาสตร์ที่ไม่ซ้ำกับสัปดาห์แรกของตนเอง
- นักเรียนได้ฝึกสังเกตและตั้งคำถามสิ่งที่อยากรู้จากสิ่งที่เพื่อนทำ
คนละ 5 คำถาม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น
ทำไมถึงเปลี่ยนไป ส่งผลอย่างไร แล้วเกี่ยวข้องกับเราอย่างไร
?”
- นักเรียนแต่ละคนบันทึกการทดลองลงในสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้
-
ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ใน Q.4/59
- นักเรียนนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ตลอด
10 สัปดาห์
- เขียนและวาดภาพสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปบทเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้ใน Q.4/59
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน Q.4/59
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้
อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล) คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
3
|
โจทย์ :
พลังงานลม
- ธรรมชาติ
- มนุษย์สร้างขึ้น
คำถาม
ลมเกิดจากอะไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร
- ทิศทางลมส่งผลกับอะไรบ้าง เราจะรู้ได้อย่างไร?”
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
-
Blackboard Share
- Key Question
- Think Pair Share
- Wall Thinking
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอการ์ตูน BEN 10 ตอน “เทอร์ราสพิน”
- ลูกบอลเล็ก/ ใหญ่
- ไดล์เป่าผม
- ชุดอุปกรณ์ประดิษฐ์ (หลอดกาแฟ ฟอย์อลูมิเนียม กรรไกร)
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอการ์ตูน
BEN 10 ตอน “เทอร์ราสพิน” เกี่ยวกับพลังงานลม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น ทำไมถึงเปลี่ยนไป ส่งผลอย่างไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร ?”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดูคลิปวีดีโอ คนละ 5 คำถาม
- ครูและนักเรียนร่วมกันกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์
“เป่าให้ลอย” “เลี้ยงลูกบอลด้วยเครื่องเป่าลม”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ถ้าเราไม่หายใจเข้า จะมีลมออกมาไหม แล้วทำไมเรามองไม่เห็นลม แล้วลมมีจริงหรือไม่
เพราะเหตุใด เราจะรู้ได้อย่างไร ทิศทางลมส่งผลกับอะไรบ้าง เราจะรู้ได้อย่างไร?”
- นักเรียนตั้งคำถามจากกิจกรรมการทดลอง
คนละ 5 คำถาม
- นักเรียนแต่ละคนบันทึกการทดลองลงในสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดและออกแบบการทดลองที่เกี่ยวข้องกับพลังงานลม
-
นักเรียนนำเสนอกิจกรรมการทดลองของกลุ่มตนเอง
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ทำการทดลอง คนละ 5 คำถาม
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้กับการเรียนรู้
- ประดิษฐ์ของเล่น “เลี้ยงลูกด้วยลมบอล”
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับพลังงานลมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
และปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล)
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
4
|
โจทย์ :
พลังงานน้ำ
คำถาม
- ปรากฏการณ์น้ำขึ้น น้ำลง เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าพลังงานน้ำ สามารถนำไปผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างไร?
- ถ้าวันหนึ่งไม่มีน้ำ จะส่งผลต่อสิ่งใดบ้าง อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
-
Blackboard Share
- Think Pair Share
- Key Question
- Wall Thinking
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอการ์ตูน BEN 10 ตอน“water hazard”
-
ชุดอุปกรณ์การทดลองวิทยาศาสตร์ “น้ำเป็นน้ำแข็ง” “ร้อน เย็น ธรรมดา
(น้ำ สารโซเดียมอะซีเตท สารโซเดียมโพลีอะครีเลท)
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอการ์ตูน
BEN 10 ตอน“water hazard” เกี่ยวกับพลังงานน้ำ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น ทำไมถึงเปลี่ยนไป ส่งผลอย่างไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร ?”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู คนละ 5 คำถาม
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์
“น้ำเป็นน้ำแข็ง” “ร้อน เย็น ธรรมดา ”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น ทำไมถึงเปลี่ยนไป ส่งผลอย่างไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร ?”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ทำการทดลอง คนละ 5 คำถาม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดและออกแบบการทดลองที่เกี่ยวข้องกับน้ำ
-
นักเรียนนำเสนอกิจกรรมการทดลองของกลุ่มตนเอง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ในร่างกายเรามีน้ำหรือไม่
แล้วอยู่ที่ไหน
ทำไมเราต้องกินน้ำทุกวัน สีของปัสสาวะส่งผลอย่างไร น้ำหายไปไหน สิ่งมีชีวิตชนิดใดต้องการน้ำมากที่สุด
?”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ทำการทดลอง คนละ 5 คำถาม
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้กับการเรียนรู้
- การ์ตูนช่อง BEN 10 พลังงานน้ำ
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับพลังงานน้ำ
และปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล)
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
5
|
โจทย์ :
พลังงานความร้อน/ไฟ
- ธรรมชาติ
- มนุษย์สร้างขึ้น
คำถาม
ความร้อนเกิดจากอะไร เกี่ยวข้องกับสิ่งใดบ้าง อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Key Question
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
คลิปวีดีโอการ์ตูน BEN 10 ตอน 6 “Energy”
- ชุดการทดลองวิทยาศาสตร์
“ผลักหลอดด้วยไฟฟ้าสถิต”
(หลอดกาแฟ ขวดพลาสติกเปล่า)
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอการ์ตูน
BEN 10 ตอน 6 “Energy” เกี่ยวกับพลังงานความร้อน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น
เปลี่ยนแปลงไป ทำไมถึงเปลี่ยนไป
ส่งผลอย่างไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร ?” ร่างกายของเรามีความร้อนหรือไม่ อย่างไร ทำไมเวลาเราไม่สบายถึงตัวร้อน
ความร้อนจากลมหายใจเราเกิดขึ้นได้อย่างไร
เราจะเก็บพลังงานความร้อนได้อย่างไร?”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู คนละ 5 คำถาม
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์
“ผลักหลอดด้วยไฟฟ้าสถิต”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู คนละ 5 คำถาม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดและออกแบบการทดลองที่เกี่ยวข้องกับความร้อน/ไฟ
-
นักเรียนนำเสนอกิจกรรมการทดลองของกลุ่มตนเอง
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ทำการทดลอง คนละ 5 คำถาม
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ดูคลิป
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมการทดลอง
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้กับการเรียนรู้
- ประดิษฐ์ที่เก็บความร้อน
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับพลังงานความร้อน
และปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล)
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
6
|
โจทย์ :
พลังงานเสียง
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าเราได้ยินเสียงได้อย่างไร?
- เสียงสงผลต่อความรู้สึกอย่างไร
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Key Question
- Think Pair Share
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
คลิปวีดีโอการ์ตูน BEN 10 “echo/ โครม่าสโตน”
-
ชุดทดลองวิทยาศาสตร์ แป้งข้าวโพดเต้นระบำ”
(แป้งข้าวโพด น้ำ
ตู้ลำโพง)
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอการ์ตูน
BEN 10 “echo/ โครม่าสโตน”
เกี่ยวกับพลังงานเสียง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น
เปลี่ยนแปลงไป ทำไมถึงเปลี่ยนไป
ส่งผลอย่างไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร ?”เสียงมาจากไหน ทำเราเสียงไม่เราเหมือนกัน คนกับสัตว์อื่นๆ
ได้ยินเสียงได้อย่างไร สัตว์ต่างๆใช้เสียงในการสื่อสารอย่างไร?”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู คนละ 5 คำถาม
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ แป้งข้าวโพดเต้นระบำ”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู คนละ 5 คำถาม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดและออกแบบการทดลองที่เกี่ยวข้องกับเสียง
-
นักเรียนนำเสนอกิจกรรมการทดลองของกลุ่มตนเอง
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ทำการทดลอง คนละ 5 คำถาม
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้กับการเรียนรู้
- ประดิษฐ์เครื่องกำเนิดเสียงดนตรีจากสิ่งต่างๆ
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับการเกิดเสียง
และปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล) คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
7-8
|
โจทย์ :
แรงและการเคลื่อนที่
คำถาม
- แรงมาจากไหน เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร?
- ถ้าเราต้องการย้ายสิ่งของสิ่งหนึ่ง จะทำอย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboard Share
- Flow Chart
- Mind Mapping
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
คลิปวีดีโอการ์ตูน BEN 10 “lodestar”
-
ชุดทดลองวิทยาศาสตร์ “แรงดันอากาศด้วยไม้ดันท่อ”
-
ชุดทดลองวิทยาศาสตร์ “ตะเกียบยกน้ำ” “รถไฟเหาะ” “ลูกแก้วในกาละมัง”
“ของเบายกของหนัก”
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- นักเรียนดูคลิปวีดีโอการ์ตูน
BEN 10 “lodestar” เกี่ยวกับแรงแม่เหล็ก
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น
เปลี่ยนแปลงไป ทำไมถึงเปลี่ยนไป
ส่งผลอย่างไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร ?”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู คนละ 5 คำถาม
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“ย้ายก้อนหิน 1 ก้อน /กระสอบทราย ไปในระยะทาง 1
เมตร จะทำได้อย่างไร?
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ “แรงดันอากาศด้วยไม้ดันท่อ”
โดยที่ครูให้นักเรียนกดไม้ดันท่อบนพื้นเรียบและพื้นขรุขระแล้วดูว่าเวลาดึงออกจากพื้นใช้แรงมากอย่างไร? จากนั้นนักเรียนใช้ไม้ดันท่อ
2 อัน มาประกบกัน แล้วลองดึง
หรือครูจะเป็นคนยกขึ้นข้างหนึ่ง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ “ตะเกียบยกน้ำ” “รถไฟเหาะ”
“ลูกแก้วในกาละมัง” “ของเบายกของหนัก”
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ทำ คนละ 5 คำถาม
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิดและออกแบบการทดลองที่เกี่ยวข้องกับเสียง
-
นักเรียนนำเสนอกิจกรรมการทดลองของกลุ่มตนเอง
-
นักเรียนตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ทำการทดลอง คนละ 5 คำถาม
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม PBL
คู่ขนาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บันทึกสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้กับการเรียนรู้
- ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรงในรูปแบบของตนเอง
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าธรรมชาติของแรง และสามารถอธิบายการเกิดแรงดึง แรงผลักอย่างง่าย
และนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล) คุณลักษณะ:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
9
|
โจทย์
วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวัน
คำถาม
- วิทยาศาสตร์มีผลต่อชีวิตเราอย่างไร?
- ทำไมต้องขี่รถมาโรงเรียน
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Round Robin
- Blackboard Share
- Key Question
- Show and Share
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ/แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ
“ไอซายน์ ฉลาดยกกำลังสอง”
- ด่างทับทิม
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
-
นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “ไอซายน์ ฉลาดยกกำลังสอง”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไร เกิดอะไรขึ้น
เปลี่ยนแปลงไป ทำไมถึงเปลี่ยนไป
ส่งผลอย่างไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร ?”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทดสอบสารตกค้างในผักด้วยด่างทับทิม เชื่อมโยงเข้าสู่การเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมี
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“เราจะมีวิธีการเลือกบริโภคอย่างไรให้ปลอดภัย” “นักเรียนวิทยาศาสตร์มีผลต่อชีวิตเราอย่างไร?”
-
สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ฟังและสิ่งที่ได้ทำ
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน - บันทึกสมุดนักวิทย์กับการเรียนรู้กับการเรียนรู้
- สรุปบทเรียนรายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และนำมาปรับใช้กับชีวิตประจำวัน
ทักษะ
ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสาร ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล) คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
10
|
โจทย์ :
ถอดบทเรียน
คำถาม
Core knowledge (แก่นความเข้าใจ)
-
นักเรียนคาดหวังว่าจะได้เรียนรู้อะไร?
- อะไรคือสิ่งสำคัญที่สุดของเนื้อหาที่ได้เรียนรู้?
How
to (วิธีการ /ล้มเหลว/ สำเร็จ)
-
มีกระบวนการทำอย่างไร และทำไมต้องทำแบบนี้?
Value
(คุณค่า)
-
เราจะนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด - Brainstorms - Round Robin - Show and Share - Mind Mapping - Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ / แหล่งเรียนรู้ บรรยากาศภายในชั้นเรียน |
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตลอด Quarter 4/59
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับรูปแบบการจัดนิทรรศการเผยแพร่และถอดบทเรียน Quarter 4/59 - แบ่งกลุ่ม เตรียมความพร้อม ในการสรุปนำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้ในรูปแบบของกลุ่มตนเอง - จัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อเตรียมเปิดห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ร่วมกันถาม
ตอบเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ในหน่วยร่วมกัน
- สรุปสิ่งที่ทำดีแล้ว สิ่งที่ต้องพัฒนา - สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ |
ภาระงาน :
- นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Q.4/59
ชิ้นงาน :
- ถอดบทเรียนในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจ - สรุปสิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนา - สรุปบทเรียนรายสัปดาห์ |
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย และนำสิ่งที่เรียนรู้ไปปรับใช้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะการอยู่ร่วมกันกับอื่น ทักษะการจัดการข้อมูล ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ (สังเกต ตั้งคำถาม ค้นหา ทดลอง สรุปผล)
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- - ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน
|
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : BEN 10 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
(Quarter 4) ปีการศึกษา 2559
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
1.สร้างฉันทะ /สร้างแรงบันดาลใจ
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้
|
มาตรฐาน
ว 8.1
-ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาตามความสนใจ (ว 8.1 ป./1)
- วางแผนการ ศึกษาค้นคว้า
สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้
(ว 8.1ป.1/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ
รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้
อย่างเหมาะสม
(ว 8.1
ป.1/3)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- เคารพ ให้เกียรติ เห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น
ปฏิบัติตนตามข้อตกลงในห้องเรียนและเป็นสมาชิกที่ดีของห้อง เรียน
(ส 2.1
ป. 1/1)
- อธิบายและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะ สมในการดำรงชีวิตในสังคมที่หลาก
หลายและแตกต่าง และสามารถอธิบายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆของตน (ส 2.1 ป.
1/2)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-
รู้หน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
(พ 2.1
ป. 1/1)
- ให้เกียรติเพื่อนและบอกความสำคัญของการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้หรือการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 ป. 1/2)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
- วาดภาพเพื่อถ่าย
ทอดความรู้สึกเกี่ยว กับสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ศ 1.1 ป. 1/1)
- อธิบายเกี่ยวกับความรู้สึกของตนเองต่อสิ่งที่อยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ 1.1 ป. 1/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ
อุปกรณ์สร้างงานศิลปะโดยการใช้สีด้วยเทคนิคต่างๆ
(ศ 1.1 ป.1/3 - 4)
- มีจินตนาการสร้าง สรรค์ และออก แบบ
ภาพประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-
เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำ
งานได้อย่างเหมาะ สมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป. 1/2)
-
สามารถทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น มีความละเอียดรอบ คอบกระตือรือร้น รับผิด ชอบและตรงต่อเวลา
(ง 1.1 ป. 1/2-
3)
มาตรฐาน
ง 2.1
- มีความคิดสร้าง สรรค์สามารถนำสิ่ง
ที่ได้ดูได้ฟัง
และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็น
|
มาตรฐาน
ส 4.1
- อธิบายความหมายและความสำคัญสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้ (ส 4.1 ป.4/1)
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นความ
สำคัญของสิ่งที่อยากเรียนรู้โดยใช้หลัก ฐานที่หลากหลาย (ส
4.1 ป.5/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำ
ถามเรื่องที่สนใจอยากเรียนรู้อย่างมีเหตุผล
(ส 4.1 ป.5/2)
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
- สามารถจัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ
แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้ได้
(ว 8.1 ป.1/4-6)
- นำเสนอสิ่งที่ตนสนใจอยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเล่าหรือการทำชิ้นงาน
(ว 8.1 ป.1/7)
|
- ยอมรับในความ คิด
และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ส 2.1
ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 ป. 2/4)
มาตรฐาน ส 2.2
อธิบายความ
สัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกในกลุ่มในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.2 ป. 1/1)
|
|
และวาดภาพ ประกอบผลงาน
(ศ 1.1 ป.2/3)
-
สร้างสรรค์ผล
งานวาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำ เสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ส 1.1 ป.3/6)
|
ชิ้นงานภาพวาด รวมทั้งวางแผนล่วง หน้าในการเรียนได้
(ง 2.1 ป.2/4)
|
|
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
|
|
-
-
รู้จักและปฏิบัติตามบทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนและเคารพสิทธิของผู้อื่น
-
(ส 2.2
ป. 1/2)
-
-
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและแสดงความคิดเห็นต่อการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้หรือวางแผนการเรียนรู้
(ส 2.2 ป. 1/3)
|
|
|
|
|
|
2.พลังงานต่างๆ เช่น
ลม น้ำ ความร้อน/ไฟฟ้า แสง สี เสียง
- ธรรมชาติ
- มนุษย์สร้างขึ้น
|
มาตรฐาน
ว 1.1
เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนหรือความแตกต่างของพลังงานที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
(ว 1.1
ป.1/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีชุมชนที่ตนอยู่อาศัยโดยการเคารพและให้เกียรติผู้อื่น
(ส 2.1 ป. 1/1)
มาตรฐาน
ส 2.2
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อผู้อื่น สังคม
รวมถึงเคารพสิทธิ
|
มาตรฐาน
พ 2.1
- รู้จัก เข้าใจ เห็นคุณค่าของครอบ ครัวตนเองและปฏิบัติตนต่อครอบ
ครัวด้วยความรัก ความผูกพัน
(พ 2.1
ป. 1/1)
-
รู้จักและเข้าใจ
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-
บรรยายเกี่ยวกับ รูปร่าง รูปทรง ลักษณะ ขนาดของสิ่งที่มนุษย์สร้างขั้น
(ศ 1.1
ป. 1/1)
|
มาตรฐาน
ง 2.1
- สามารถวางแผนและลงมือทำงานอย่างเป็นลำดับขั้น
ตอนเพื่อให้งานบรรลุตามเป้า หมาย
(ง 1.1
ป. 1/1)
- เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และ
|
มาตรฐาน
ส 4.1
- อธิบายเกี่ยวกับวัน เดือน ปีและช่วงเวลาต่างๆตามปฏิทินในการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานในรูปแบบต่างๆ
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่
2
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||||||||||
|
มาตรฐาน ว 1.2
อธิบายเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งต่างๆทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตที่แล้วนำมาจัดหมวดหมู่ตามความเข้าใจ
(ว 1.2
ป.1/1)
มาตรฐาน
ว 6.1
สำรวจ ศึกษา
สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานที่เกิดจากธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
(ว 6.1 ป.1/1)
มาตรฐาน
ว 8.1
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับพลังงานรูปแบบต่างๆที่
กำหนด ให้หรือตามความสนใจ
(ว 8.1
ป.1/1)
|
-และหน้าที่ของผู้อื่นในการอยู่ร่วมกันในสังคม(ส 2.2
ป. 1/2)
-
-
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมต่างๆในห้องเรียนตามความสนใจและกระ บวนการประชาธิปไตย
(ส 2.2 ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 5.1
- สามารถแยกแยะ จำแนกและจัดหมวดหมู่ของสิ่ง
|
ตนเองสามารถ
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบและภาคภูมิใจ
(พ 2.1
ป. 1/2)
มาตรฐาน พ.4.1
- บอกลักษณะการมีสุขภาพดีจากการทำงาน
การกินอาหารที่มีปะโยชน์
(พ 4.1 ป2/)
- อธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วย
การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน หรือการทดลองวิทยาศาสตร์
(พ 4.1 ป2/4)
|
- มีทักษะในการใช้
วัสดุอุปกรณ์
การทำงานเพื่อสร้าง สรรค์ชิ้นงานเกี่ยวกับการทดลองวิทยาศาสตร์
(ศ 1.1 ป. 1/3)
- สรรค์สร้างงานศิลปะโดยการวาดภาพ ระบายสีเพื่อถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับผลการทดลองวิทยาศาสตร์
(ศ 1.1
ป. 1/4-5)
|
- เครื่องมือในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1
ป. 1/2)
- รู้วิธีการทำงานให้
สำเร็จอย่างมีคุณภาพด้วยความกระตือรือร้น
เอาใจใส่เพื่อให้ทันเวลาที่กำหนด
(ง 1.1
ป. 1/3)
มาตรฐาน
ง 3.1
-เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถือ
รวมทั้งรู้จักการสืบค้นจากแหล่ง ข้อมูลที่หลากหลาย
(ง 3.1
ป.2/1)
|
(ส
4.1 ป.1/1)
- สามารถเรียงลำดับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นจากการทดลอง
(ส
4.1 ป.1/2)
-สามารถสืบค้นหรือสอบถามผู้รู้เกี่ยวกับพลังงานรูปแบบต่างๆทั้งที่เกิดขึ้นและจากที่มนุษย์สร้างขึ้น
(ส
4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการดำรงชีวิตในปัจจุบัน
|
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความ
|
|||||||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||||||||||
|
-
วางแผน สังเกต
สำรวจ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานรูปแบบต่างๆ
(ว 8.1
ป.1/2)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการทดลอง
(ว 8.1
ป.1/3)
-
จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้น คว้า สอบถาม
สำรวจแล้วนำเสนอความเข้าใจให้ผู้อื่นทราบผ่านการเล่า
บรรยาย
อธิบายหรือการทำชิ้นงานเกี่ยวกับแนวคิดของงานหรือข้อมูลและแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
(ว 8.1 ป.1/4 - 7)
|
- ต่างๆรอบตัวทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
(ส 5.1 ป. 1/1)
-
- สามารถระบุทิศทางการเกิดพลังงานลมให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ส 5.1 ป. 1/2-3)
มาตรฐาน ส 5.2
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งๆ
พลังงานต่างๆที่มีผลต่อความเป็นอยู่หรือวิถีชีวิตของคนในชุมชนและมีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อม
(ส 5.2 ป. 1/1-3)
|
- ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ
(พ 4.1 ป2/5)
มาตรฐาน
พ.5.1
- ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 5.1 ป2/1)
|
|
-สามารถค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆได้ (ง 3.1 ป.3/1)
|
ได้ (ส 4.2 ป 1/1)
- อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยน แปลงของสภาพ
แวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต
(ส4.2
ป 1/2)
มาตรฐาน
ส 4.3
- อธิบายความ
หมายของสิ่งต่างๆให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ส 4.3 ป 1/1)
-อธิบายเกี่ยวกับ
ตำแหน่งของสถานที่ที่สำคัญของแหล่งกำเนิดพลังงานได้
(ส 4.3 ป 1/2)
-ระบุเกี่ยวกับสิ่งทีภาคภูมิในงานของตนเอง ได้ (ส 4.3 ป 1/2)
|
แตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้วินัยในตนเอง
|
|||||||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||||||||||
3.แรงและการเคลื่อนที่
- แรงผลัก
- แรงดึงดูด
- แรงโน้มถ่วง
|
มาตรฐาน ว 1.1
อธิบายได้ว่า ปัจจัยที่เกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ และเรียนรู้ที่จะนำไปประ
ยุกต์ใช้กับตนเองได้
(ว 1.1 ป.2/1-2)
มาตรฐาน ว 8.1
-
ตั้งคำถามเกี่ยวกับแรงรูปแบบต่างๆ
ได้
(ว 8.1 ป.1/1)
- วางแผน
สังเกต สำรวจ ศึกษาค้นคว้า สอบถามเกี่ยวกับการเกิดแรงและการเคลื่อนที่ของสิ่งของได้
(ว 8.1 ป.1/1)
-จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า
สังเกต สำรวจแล้วนำเสนอผ่านภาพวาด
ข้อ ความ บอกเล่า
หรือแสดงความคิดเห็น
|
มาตรฐาน
ส 2.1
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว
โรงเรียน และชุมชนที่ตนอยู่อาศัยโดยการเคารพและให้เกียรติผู้อื่น (ส 2.1 ป. 1/1)
- ยอมรับฟังความคิดเห็น
ความเชื่อของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนโดยปราศจากอคติ
(ส 2.1 ป. 1/2)
มาตรฐาน ส 2.2
-รู้จักบทบาทและหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.2 ป. 1/1)
-เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่
ของตนในครอบครัว
|
มาตรฐาน พ.2.1
- เข้าใจ เห็นคุณค่า
และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
(พ 2.1 ป.1/1)
-อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบและภาคภูมิใจ
(พ 2.1 ป.1/2)
-
อธิบายเกี่ยวกับลักษณะ
ความแตกต่างและความ
เหมือนของเพศและวัยของคน
(พ
2.1 ป.1/3)
มาตรฐาน พ.4.1
- บอกลักษณะการมีสุขภาพดีจากการร่วม
งานประเพณีบุญต่างๆ
(พ
4.1 ป.2/1)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
อธิบายและ
ถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับลักษณะของการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นผ่านภาพวาด
(ศ 1.1 ป.1/1-2)
-
มีทักษะในการใช้
วัสดุ
อุปกรณ์และเครื่องมือเพื่อสร้างสรรค์ชิ้นงานถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับการแรงและการเคลื่อนที่ของสิ่งของต่างๆ
(ศ 1.1 ป.1/3)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- อธิบายขั้นตอนการ
ทำงานให้สำเร็จ ประณีตสวยงามและทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/1)
-เลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในการทำ งานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป.1/2)
- ทำงานด้วยตนเอง
หรือร่วมกับผู้อื่นด้วยความกระตือรือร้น
เอาใจใส่ อดทน รับผิดชอบเพื่อให้งานสำเร็จทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1
ป.1/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
อธิบายวัน
เดือน ปีตามปฏิทินเพื่อบอกช่วงเวลาของปรากฏการณ์ทางวิทยาศาสตร์
(ส
4.1 ป 1/1)
-
เรียงลำดับช่วงเวลาของของการเคลื่อนที่ของสิ่งต่างๆได้
(ส 4.1 ป 1/2)
- บอกประวัติความ
เป็นมาและความ สำคัญของเครื่องทุนแรงรูปแบบต่างๆ
(ส 4.1 ป
1/3)
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา
และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตาม
|
|||||||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||||||||||
|
ให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1
ป.1/4-7)
|
โรงเรียนหรือชุมชนที่ตนอาศัยอยู่
(ส
2.2 ป. 1/2)
-มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในการทำกิจกรรมหรือร่วมงาน
ส 2.2 ป.
1/3)
มาตรฐาน ส
3.2
-เข้าใจและเห็นคุณค่าของการทำงานหรือการประกอบอาชีพคนในหมู่บ้านของตน
(ส 3.2 ป.
1/3)
|
- อธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วย การบาด เจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 4.1 ป.2/4)
- ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ
(พ 4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน พ.5.1
- ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 5.1 ป.2/1)
|
- วาดภาพระบายสีเพื่อถ่ายทอดความ รู้สึกเกี่ยวกับบทกลอนงานประเพณี
(ศ 1.1 ป.1/5)
|
|
มาตรฐาน
ง 3.1
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของประเพณีและศิลปะพื้นบ้านของคนอีสาน
(ง 3.1 ป.1/1)
มาตรฐาน
ส 4.2
- อธิบายลักษณะของการใช้เครื่องทุ่นแรงในอดีตและปัจจุบัน
(ส 4.1 ป 1/1)
- อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของเครื่องใช้ในอดีตที่มีผลต่อวิถีชีวิตหรือ
|
หลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติ
|
|||||||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||||||||||
|
|
มาตรฐาน
ส 5.2
- อธิบายเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต
และความเป็นอยู่ของคนและสิ่งสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
(ส
5.2
ป. 1/1)
- สังเกต
อธิบายและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของภาพแวดล้อมรอบตัวที่ตนอยู่อาศัย
(ส 5.2 ป. 1/2)
-มีส่วนในร่วมในงานและการทดลองทางวิทยาศาสตร์
(ส 5.2 ป. 1/3)
|
|
|
|
ประเพณีต่างๆในชุมชน
(ส
4.2 ป 1/2)
มาตรฐาน ส 4.3
อธิบายความหมายและความสำคัญของการใช้เครื่องทุนแรงในอดีตและปัจจุบัน
(ส 4.3 ป 1/1)
- สามารถอธิบายเกี่ยวกับลักษระการเคลื่อนที่ของสิ่งของ
(ส
4.3 ป 1/1)
- มีความภาคภูมิใจ
ในท้องถิ่นที่ตนออยู่อาศัยและมีส่วนในการอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม
(ส 4.3 ป 1/1)
|
วิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|
|||||||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||||||||||
4.วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวัน
|
มาตรฐาน
ว 1.2
สามารถอธิบายเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจำวันได้
(ว 1.2
ป.1/1)
มาตรฐาน
ว 3.1
- สังเกต ระบุและอธิบายลักษณะของการทดลองสารพิษตกค้างในผักผลไม้
(ว 3.1 ป.1/1)
-จำแนกทรัพยากรหรือวัสดุที่นำมาใช้ในการในชีวิตประจำวันได้
(ว
3.1 ป.1/2)
มาตรฐาน ว 8.1
-ตั้งคำถามเกี่ยวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวัน
(ว 8.1 ป.1/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนและชุมชน โดยรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนและเคารพสิทธิของผู้อื่น
(ส 2.1
ป. 1/1)
- เข้าใจ เห็นค่าตนเองและสามารถอธิบายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆของตนเองและผู้อื่น
(ส 2.1
ป. 1/2)
มาตรฐาน
ส 2.2
-รู้จักบทบาท สิทธิ
หน้าที่ของตนต่อสมาชิกในกลุ่มในฐานะที่เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.1 ป. 1/1-2)
|
มาตรฐาน
พ.2.1
- เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ร่วมกันในสังคม
(พ 2.1
ป. 1/1)
มาตรฐาน
พ.2.1
-
ระบุสิ่งที่อาจทำให้เกิดอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1
ป. 1/1)
-อธิบายสาเหตุและการป้องกันอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1
ป. 1/2)
-สามารถพูดบอกหรือแสดงท่าทางขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นหากเกิดอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1 ป. 1/3)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-อธิบายความเข้าใจ
เกี่ยวกับวัสดุ
อุปกรณ์ในการทดลองวิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวัน
(ศ 1.1
ป. 1/1)
-มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานเพื่อถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับการทดสอบสารพิษตกค้างในอาหาร
(ศ 1.1 ป. 1/2)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
- ทำงานอย่างมีเป้าหมาย เป็นขั้นตอน
เพื่อให้สำเร็จลุล่วงทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1
ป.1/1)
-เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่อง
มือในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1
ป.1/2)
- ทำงานด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ อดทนเพื่อให้
|
มาตรฐาน
ส 4.1
- อธิบายเกี่ยวกับวัน
เดือน ปีตามปฏิทินในการคำนวณระยะเวลาการทำผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้
(ส 4.1 ป 1/1)
- เรียงลำดับเหตุการณ์ในการผลิตภัณฑ์และการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุในท้องถิ่น
(ส
4.1 ป 1/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายความเปลี่ยน แปลงของ
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของ
|
|||||||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||||||||||
|
-มีการวางแผนอย่างเป็นขั้นตอนในการทดลองวิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวัน
(ว 8.1 ป.1/2)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานอย่างถูกต้องเหมาะสมและปลอด ภัย (ว 8.1
ป.1/3)
-จัดกลุ่มข้อมูลของวัสดุอุปกรณ์
ขั้นตอนในการทำอาหารจากเมล็ดพันธุ์เชื่อมกับอาหารหลัก 5 หมู่
(ว 8.1
ป.1/4)
-บันทึกสิ่งที่ตนได้เรียนรู้จากการทำการทดลองแล้วนำเสนอข้อมูล - ให้ผู้อื่นทราบผ่านการวาดภาพ
บรรยายและร่วมกันแสดงความคิดเห็น แสดงความรู้สึกต่อ
|
- มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในการเตรียมวัสดุ
อุปกรณ์และลงมือทำล้างสารพิษด้วยด่างทับทิม (ส 2.1 ป. 1/3)
มาตรฐาน
ส 3.1
-
อธิบายการอนุรักษ์หรือใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและนำไปใช้ในชีวิตจริง
(ส 3.1 ป. 1/2)
- อธิบายเกี่ยวกับการ
ใช้ทรัพยากรใน ท้องถิ่นอย่างคุ้มค่าและสร้างสรรค์
(ส 3.1 ป.
1/3)
มาตรฐาน ส
5.1
แยกแยะทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรม
ชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
(ส 5.1 ป.
1/1)
|
|
-วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรในท้องถิ่น
(ศ
1.1 ป. 2/6)
|
- บรรลุเป้าหมาย
(ง 1.1
ป.1/3)
มาตรฐาน ง 3.1
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการทำการทดสอบสารพิษตกค้างในผักผลไม้ด้วยด่างทับทิมหรือเกลือ
(ง 3.1
ป.1/1)
|
- สภาพ แวดล้อมที่มีผลต่อทรัพยากรในท้องถิ่น
(ส
4.2 ป 1/1)
-
อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทรัพยากรในปัจจุบัน
(ส
4.2 ป 1/2)
มาตรฐาน
ส 4.3
- อธิบายความ หมายและความ สำคัญของทรัพยากร
(ส
4.3 ป 1/2)
-มีความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของทรัพยากร
(ส 4.3 ป 1/2)
|
เศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่
4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|
|||||||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||||||||||
|
กิจกรรมที่ได้ทำ
(ว 8.1
ป.1/4-6)
-ถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์กับชีวิตประจำวันได้
(ว 8.1 ป.1/7)
|
มาตรฐาน
ส 5.2
-สังเกตและเปรียบ เทียบการเปลี่ยน แปลงของทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบันได้อย่างเข้าใจ
(ส 5.2
ป. 1/2)
-มีส่วนร่วมในการจัดสรรทรัพยากรในชุมชนของตน
(ส 5.2 ป. 1/3)
|
|
|
|
|
|
|||||||||||||
ถอดบทเรียน
-เผยแพร่
-สิ่งที่ทำได้ดีและสิ่งที่ต้องพัฒนา
|
มาตรฐาน
ว 8.1
- ตั้งคำถามและหาคำตอบโดยใช้กระบวนการทางวิทยา ศาสตร์
เกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้ผ่านการทำชิ้นงานแล้วนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจในสิ่งที่ตนศึกษา (ว 8.1 ป.1/1)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
- สามารถยอมรับความคิดเห็น และการปฏิบัติที่แตกต่างของบุคคลอื่นโดยไม่มีอคติ
(ส 2.1 ป. 2/1)
- เคารพสิทธิของตนเองและไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 ป. 2/4)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อผู้อื่นในการวางแผนสรุปการเรียนรู้ (พ 2.1 ป.1/1)
- เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญ
ของสิงที่เรียนรู้รวมทั้งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (พ 2.1 ป.1/2)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
-ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ป.1/3)
-วาดภาพสื่อความหมายเนื้อหาและเรื่อง ราวที่ได้ได้ศึกษาให้ผู้อื่นเข้าใจต่างๆได้
(ศ1.1
ป.2/5)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-ใช้และสามารถระบุวัสดุ เครื่องมือ
และอุปกรณ์ที่ในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและประหยัด
(ง 1.1 ป.1/2)
ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1 ป. 2/5)
|
มาตรฐาน
ส 4.1
-
สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและมีผลต่อวิถีชีวิตได้อย่างเป็นระบบ
(ส 4.1 ป./2)
มาตรฐาน ส 4.2
-
อธิบายเกี่ยวกับสิ่ง
- ที่ตนได้เรียนรู้โครงงานหมู่บ้านแสนสุขสันต์เพื่อสรุปสิ่งที่ตนได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นทราบ
(ส 4.2 ป.1/3)
|
จุดเน้นที่
1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
|
|||||||||||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||
|
-จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบ
นำเสนอผลการเรียนรู้โดยการแสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่ม
วิเคราะห์ตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ พร้อมทั้งสามารถระบุสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุงได้ (ว 8.1 ป.2/4-5)
-บันทึกและอธิบายผลจากการศึกษาค้นคว้า โดยสรุปองค์ความรู้ตามรูปแบบ Mind
mapping หรือรูปแบบอื่น
(ว 8.1 ป.2/6)
|
มาตรฐาน ส 2.2
- รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
สามารถยอมรับและปฏิบัติตามหน้าที่ของตนเองได้ (ส 2.2
ป. 2/2)
|
-
เคารพ ให้เกียรติเพื่อน บอกความ สำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเรียนรู้
การทำงาน และการทำกิจกรรมต่างๆ
(พ 2.1 ป.2/3)
|
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงท่าทางเพื่อสื่อความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านบทละคร
(ศ 3.1 ป.1/2)
-มีมารยาทในการนำเสนองานและการเป็นผู้ชมที่ดี (ศ 3.1 ป.1/3)
|
-ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานสามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีความรับผิดชอบ
(ง 1.1 ป.4/2-3)
|
มาตรฐาน ส 4.3
มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่น มีส่วนในการอนุรักษ์และสืบสานประเพณี
(ส
4.3 ป.1/3)
|
จุดเน้นที่
2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
จุดเน้นที่
3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
|
|||||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
|||||||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษา
ศาสนา
และวัฒนธรรม
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
ศิลปศึกษา
|
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
||||||
|
|
|
|
|
|
|
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความ
เหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่
5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น